Page 165 -
P. 165

ิ
                                 ิ
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                       ื
                                    ์
                                                                ั
                                                                        ุ
                                        ิ
                                                  ิ
                   เรื่องเล่าพระไตรปิฎก
         134
       3. คัมภร์นอกพระไตรป ิ ฎก
              ี
                                                                       ิ
                                                  ิ
              ในคัมภีร์โบราณของทิเบตมีทั้งพระไตรปฎกและคัมภีร์ทีอยูนอกปฎก ทีเรียกว่าคัมภีร์
                                                                  ่
                                                               ่
                                                                             ่
                   ิ
                                                                           ่
       นอกพระไตรปฎก หมายถึงคัมภีร์ทางพุทธศาสนาที่ชาวทิเบตรจนาขึ้นเพิ่มเติมซึงหลงเหลือมาถึง
                                                                 61
                                           ่
        ั
       ปจจุบันมีมากพอสมควรทีเดียว เช่น สิ่งทีเรียกว่ากาบุม བཀའ་འབུམ་   หรืออาจจะเรียกว่า สุงบุม
               62
                                                        ่
       གསུང་འབུམ་   หมายถึง การรวบรวมงานประพันธ์ของพระทีมีชือเสียงของทางทิเบตเอง ยกตัวอย่าง
                                                           ่
                                                    ่
       เช่น บุตนสุงบุม คือ การรวบรวมผลงานของท่านบุตนทีได้รจนาไว้  นอกเหนือจากนียังมีการรวบรวม
                                                                            ้
       ผลงานด้านประวัติศาสตร์ของนิกายหรือหลักธรรมของนิกายและอืน ๆ
                                                            ่
              อาจารย์ KAWAGUCHI Ekai, TERAMOTO Enga, NOMI Yutaka และท่าน TADA
                                                  ้
                             ่
                                                                    ่
       Tōkan ได้อัญเชิญคัมภีร์ทีมีคุณค่าทั้งหลายเหล่านี มาเก็บรักษาไว้ทีญีปุน อีกทั้งยังได้มีการท า
                                                                     ่
                                                                  ่
       บัญชีรายชือคัมภีร์รวมทั้งดรรชนี เพือความสะดวกในการค้นคว้าอีกด้วย
                                    ่
               ่
                                              ี
                                               ้
              ตัวอย่างบัญชรายชอคัมภร์และดรรชคนหา
                          ี
                               ื่
                                    ี
                          ่
              1.  บัญชีรายชือคัมภีร์พระพุทธศาสนาทิเบตฉบับมหาวิทยาลัยโทโฮกุ
                 (東北大学蔵版 西蔵撰述仏典目録)
                          ่
              2.  บัญชีรายชือคัมภีร์ทิเบต ณ มหาวิทยาลัยโตเกียว
                 (東京大学所蔵チベット文献目録)
              3.  ดรรชนีบัญชีรายชือคัมภีร์พระพุทธศาสนาทิเบต ณ หอสมุดมหาวิทยาลัยโอตานิ
                                ่
                 (大谷大学図書館所蔵西蔵文献目録索引)
                          ่
              4.  บัญชีรายชือเอกสารภาษาทิเบต ณ มหาวิทยาลัยริวโกกุ
                 (龍谷大学所蔵チベット語資料目録)
              5.  Musashi Tachikawa ed.: A Catalogue of the United States Library of Congress
                 Collection of Tibetan Literature in Microfiche. ( The International Institute for
                 Buddhist Studies, Tokyo, Part 1, 1983; Part 2, 1986).

              6.  Chizuko  Yoshimizu  ed. :  Descriptive  Catalogue  of  the  Naritasan  Institute
                 Collection of Tibetan Works, Vol.I (Naritasan,1989).



              61  ผู้แปล: bka’ ’bum
              62  ผู้แปล: gsung ’bum
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170