Page 164 -
P. 164

ิ
                                    ์
                       ื
                         ิ
                                                  ิ
                                                                ั
                                        ิ
                                                                        ุ
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                                           สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสู่สากล”   133
                          ่
                                                                                     ่
                            ็

                    มีพระทีเปนผู้รับผิดชอบ 2 รูป ในการท าต้นฉบับโดยนาเอาฉบับโบราณซึงสันนิษฐาน
                ็
                                                                         ่
            ว่าเปนฉบับพิมพ์ครั้งแรกของนาร์ถังและอีกฉบับคือฉบับเดเกนามาช าระ ทีแตกต่างก็ได้ใช้อักษรสีแดง

            ซึงองค์ดาไลลามะมีความพอใจเปนอย่างมาก ทั้งหมดนีเปนเปนเหตุการณทีเล่าโดยท่าน Tada
              ่
                                                                             ์
                                                             ้
                                                               ็
                                         ็
                                                                   ็
                                                                               ่
                                 ิ
              ่
            เกียวกับการท าพระไตรปฎกฉบับลาซาในช่วงเวลานั้น
                    ด้วยเหตุนีท าให้สามารถทราบได้ว่าฉบับลาซานั้นมีความตั้งใจเอาฉบับนาร์ถังเปนตัวต้นฉบับ
                            ้
                                                                                    ็
                                                                                           ่
                                                             ิ
                    ส่วนในรายละเอียดทางกายภาพของพระไตรปฎกข้างต้นนั้น หากพิจารณาตามทีเห็น
            โดยภาพรวม ประการแรก ในกรณีของสีหมึก กันคิวจะพิมพ์ด้วยหมึกแดง ส่วนของเตนคิว
            พิมพ์ด้วยหมึกด า 2) ในกรณีของจ านวนบรรทัด ทางฉบับปกกิ่ง ในหนึงใบลานประกอบไปด้วย
                                                                          ่
                                                                ั
                                                                         ่
            8 บรรทัด ทั้งในส่วนของกันคิวและเตนคิว หากเปนฉบับอืนใ น หนึงใบลานจะมี 7 บรรทัด
                                                           ็
                                                                  ่
                                                             ์
            แต่ละฉบับก็จะมีลักษณะของอักษรทีเปนเอกลักษณ ถ้าคุ้นเคยกับลักษณะเฉพาะเหล่านี
                                               ่
                                                                                               ้
                                                 ็
                                      ็
            ก็จะสามารถแยกได้ว่าฉบับใดเปนฉบับใด
                    หากพิจารณาตามสายของฉบับพิมพ์สามารถแบ่งออกเปน 3 สายคือ
                                                                 ็
                                                       ั
                    1. ในสายของตะวันออกตัวแทนก็คือ ฉบับปกกิ่ง ซึงใช้ต้นฉบับคือ ฉบับเซลปะ
                                                             ่
                    2. ฉบับนาร์ถังใช้ฉบับของเถมปงมะ (สายตะวันตก)
                                             ั
                    3. สายลูกผสมทีใช้ต้นฉบับทั้งตะวันออกและตะวันตกคือ ฉบับเดเก ซึงใช้ทั้งฉบับเถมปงมะ
                                 ่
                                                                                            ั
                                                                             ่
            และฉบับจัง
                                                               ่
                    นอกเหนือจาก 5 ฉบับข้างต้นแล้วก็ยังมีฉบับอืนอีก เช่น ฉบับ Urga (1908-10)
                                                                                              58
                                                                                  ่
                                                                                            ์
                                                    60
                                      59
            ฉบับ sku ‘bum  ฉบับ chamdo , ฉบับ Punaka  ซึงโดยรวมแล้วมีกว่า 10 ฉบับ ซึงไม่สมบูรณบ้าง
                                                        ่
            ไม่ทราบรายละเอียด ของข้อมูลฉบับนั้น ๆ บ้าง ส่วนการจัดเรียบเรียงหมวดหมู่ในพระไตรปฎกทิเบต
                                                                                        ิ
                                                       ั
            ก็มีความแตกต่างกันในแต่ละฉบับ อาทิ ฉบับปกกิ่งและฉบับลาซา หมวดของตันตระได้รับ
            การจัดเรียงไว้เปนล าดับแรก ต่อมาจะเปนพระสูตร และพระวินัย ไล่เรียงกันตามล าดับ แต่ฉบับเดเก
                                              ็
                          ็
                                           ็
                                                              ็
            และฉบับโจเน จัดหมวดพระวินัยไว้เปนล าดับแรก ต่อมาจะเปนพระสูตรและตันตระ

                    58  ผู้แปล: เฉพาะ  bka’ ‘gyur เท่านั้น. Bethlenfalvy G   A Catalogue of the Urga Kanjur in the Prof.
                                                              .
            Raghuvira Collection at the International Academy of Indian Culture, śatapiṭaka Series 246. New Delhi, 1980.
                    59  ผู้แปล: ภาษาทิเบต ཆབ་མདྲོ་ chab mdo ส่วนภาษาจีนเรียกว่า 昌都 ออกเสียงว่า ชางตู
                    60  ผู้แปล: ฉบับ Punaka เปนของประเทศภูฏาน แต่ในรายละเอียดนั้นยังไม่ทราบชัดเจน
                                      ็
   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169