Page 163 -
P. 163

ิ
                                    ์
                         ิ
                                        ิ
                                 ิ
                                                                ั
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                       ื
                                                                        ุ
                   เรื่องเล่าพระไตรปิฎก
         132
                                                                               ่
              ในการช าระส่วนของกันคิว มีการใช้ฉบับของสายตะวันออกคือ“ฉบับจังหรือทีเรียกว่าลิถัง”
       เปนต้นฉบับ แล้วนาฉบับ เซลปะและเถมปงมะ (สายตะวันตก) เปนตัวร่วมช าระ ส่วนของเตนคิว

         ็
                                                               ็
                                           ั
                                                                  54
                              ็

                                                    ่
       ได้นาฉบับจังของท่านบุตนเปนต้นฉบับ และได้นาฉบับอืน ๆ มาร่วมช าระ

              ง) ฉบับโจเน
                      55
              วัดโจเน  ตั้งอยูในเขตอัมโดด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของ ทิเบต  ได้มี
                              ่
       การจัดพิมพ์พระไตรปฎกทิเบตในส่วนของกันคิวช่วงปช่วงคริสต์ศักราช 1733-1743, และส่วนเตนคิว
                                                   ี
                         ิ
       ในช่วงปคริสต์ศักราช 1753-1773ในกรณีของกันคิว สันนิษฐานว่า มีรากฐานมาจากฉบับจัง (ลิถัง)
              ี
                                                       ั
           ็
                                                                                       ่
       ซึงเปนของสายตะวันออก แต่ก็มีส่วนผสมของฉบับปกกิ่งและฉบับเดเก ดังนั้นต้นฉบับทีใช้
        ่
       ของฉบับโจเน ยังเปนประเด็นทีต้องรอการค้นคว้าตรวจสอบในรายละเอียดต่อไป
                                ่
                       ็
              จ) ฉบับลาซา
                                                                              56
              ด้วยด าริของดาไลลามะองค์ที 13 ท่านถุบเตนเกียโซ ཐུབ་བསན་རྒྱ་མཚོ་  ฉบับลาซา
                                         ่
                                               ้
       ซึงพิมพ์เฉพาะ ในส่วนของกันคิวได้พิมพ์เสร็จสินในปคริสต์ศักราช 1934 ภายหลังท่านมรณภาพ
        ่
                                                    ี
                                                                                        57
       ไปแล้ว ในสมัยนั้นการพิมพ์ ด้วยแท่นพิมพ์โลหะได้มีขึนแล้วในทิเบต ดังนั้นท่าน Tada Tōkan
                                                      ้
       ได้เสนอแนะการใช้เทคโนโลยีการพิมพ์ สมัยใหม่ในการจัดท าพระไตรปฎก แต่ท่านดาไลลามะเห็นว่า
                                                                 ิ
       ควรรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีเดิมทีได้รักษาพุทธวจนะสืบทอดต่อกันมา ดังนั้นจึงตัดสินใจ
                                          ่
       ใช้แท่นพิมพ์ไม้แบบเดิม



                                                        ิ
              54  ผู้แปล: Kawaguchi Ekai 河口慧海 ได้อัญเชิญพระไตรปฎกทิเบตในส่วนกันคิวมาไว้ที่โตโยบุงโคะ และ
                    ่
       ส่วนเตนคิวไว้ทีคณะอักษรศาสตร์มหาวิทยาลัยโตเกียว  ท่าน  Tada Tōkan  多田等観 ได้อัญเชิญ
                 ้
                 ี
                                                                      ื
                                                                      ้
       ทั้งสองส่วนนมาเก็บไว้ทีมหาวิทยาลัยโตโฮคุ และทางเซไคเซเทนได้รวบรวมเนอหา 3 หมวดจากเตนคิว
                          ่
       ของ มหาวิทยาลัยโตเกียว ได้แก่ มาธยมิกะ จิตตมาตร (วิชญาณวาท) และประมาณ นามาจัดท าการพิมพ์ใหม่อีกครั้ง

       ในปจจุบันได้มีในรูปแบบแผ่นซีดี  Microfiche ของ  Koyasan ส่วนประเทศอินเดียและไต้หวันก็ได้ท า
          ั
       การพิมพ์ใหม่ขึนมา
                 ้
                                       ั
                                                   ่
                                                   ึ
              55  ผู้แปล: ภาษาจีนเรียกว่า 卓尼 ปจจุบันถือเปนหนงในเทศมณฑลของเขตการปกครองตนเองของชนชาติ
                                               ็
       ทิเบต กานหนาน ในมณฑลกานซู่
              56  ผู้แปล: thub bstan rgya mtsho
              57  ผู้แปล: 多田等観
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168