Page 162 -
P. 162

ิ
                                    ์
                       ื
                         ิ
                                                                ั
                                                                        ุ
                                        ิ
                                                  ิ
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                                           สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสู่สากล”   131
                                                          ่
               ่
                      ี
            อยูในช่วงปคริสต์ศักราช 1730-1732 ส่วนเตนคิวอยูในช่วงปคริสต์ศักราช 1741-1742 โดยใช้
                                                                  ี
            พระไตรปฎกนาร์ถังฉบับลายมือเปนต้นฉบับ
                    ิ
                                        ็
                                                                                ่
                                                                                              49
                                                                            ่
                    ฉบับนีเรียกว่า “ฉบับนาร์ถัง” เพราะว่าได้เก็บรักษาในวัดนาร์ถังทีตั้งอยูในเขตซัง གཙང་
                         ้
                 ั
            ทางฝ่งตะวันตกของทิเบต แต่ในวัดนาร์ถังก็มีฉบับนาร์ถังเก่าเก็บไว้อยู ดังนั้นจึงมีอยูทั้ง 2 รูปแบบ
                                                                        ่
                                                                                    ่
                                   ็
            ด้วยกัน กล่าวคือ ฉบับที่เปนลายมือเรียกว่า “ฉบับนาร์ถังเก่า” ส่วนทีเราเรียกกันว่า “ฉบับนาร์ถัง”
                                                                       ่
            ในปจจุบันนั้นเปนฉบับพิมพ์
                ั
                         ็
                                                                     ิ
                    อนึง ในประเทศญีปุน มหาวิทยาลัยโตเกียวมีพระไตรปฎกฉบับนาร์ถังทั้ง 2 รูปแบบ
                                    ่
                                     ่
                      ่
                                                                        ่
            แต่มหาวิทยาลัยเกียวโต โตโยบุงโคะ มหาวิทยาลัยไทโช นาริตะซังและทีอื่นมีแต่ฉบับพิมพ์เก็บรักษา
                ่
            ไว้ซึงอักขระมีความไม่ชัด จึงท าให้อ่านได้อย่างยากล าบาก
                    ส่วนกันคิวได้ถูกพิมพ์ใหม่ในชุด Śatapiṭaka Series โดยท่าน Raghu Vīra ในชุดพิมพ์ใหม่นี ้
                                                                ่

                                                                                 ้
            ตัวอักษรมีความชัดเจนมาก ท าให้สามารถนามาเปรียบเทียบเพือการค้นคว้าได้ง่ายขึน
                    ค) ฉบับเดเก
                                                           50
                    ในสมัยของราชาเตนปะเซริง བསྟན་པ་ཚེ་རྲིང་  แห่งอาณาจักรเดเกแคว้นขัม ཁམས་    51
                                                                                              52
            ซึงอยูทางฝ่ง ตะวันออกของทิเบต ได้นิมนต์ท่านสีตุโชกีย์จุงเน སྲི་ཏུ་ཆྲོས་ཀྲི་འབྱུང་གནས་
                  ่
                       ั
              ่
                          ่
                       ่
                                                                    ี
                                             ็
                 ็
            ซึ่งเปนพระทีมีชือเสียงสายกรรมปะ เปนผู้ช าระในส่วนกันคิวช่วงปคริสต์ศักราช 1729-1733 และมี
                        ้
            การจัดพิมพ์ขึน
                    ส่วนเตนคิวได้ท่านชุเชนซุลตริมรินเชน ཞུ་ཆྡེན་ཚུལ་ཁྲིམས་རྲིན་ཆྡེན་  เปนผู้ช าระในช่วง
                                                                                 ็
                                                                             53
                                                   ้
            ปีคริสต์ศักราช 1737-1744 และมีการจัดพิมพ์ขึน


                    49  ผู้แปล: gtsang
                    50  ผู้แปล: bstan pa tshe ring, 1678-1738
                    51  ผู้แปล: khams
                    52  ผู้แปล: si tu chos kyi ’byung gnas, 1699/1700-1774
                    53  ผู้แปล: zhu chen tshul khrims rin chen, 1697-1774
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167