Page 161 -
P. 161

ิ
                                    ์
                                 ิ
                                                                ั
                                                                        ุ
                                                  ิ
                       ื
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                         ิ
                   เรื่องเล่าพระไตรปิฎก
         130
              ต่อมาในช่วงปคริสต์ศักราช 1684-1692 รัชสมัยพระจักรพรรดิองค์ที 4 แห่งราชวงศ์ชิง
                                                                         ่
                          ี
                                                             ้
                                                            ์
       พระนามว่า คังซี (康煕) “ฉบับคังซีกันคิว” ได้เสร็จสมบูรณขึน ในเวลาต่อมาฉบับคังซีกันคิว
       ได้พิมพ์ใหม่อีก 4 ครั้ง ได้แก่ ปีคริสต์ศักราช 1700, 1717-1720, 1737 (ฉบับเฉียนหลง 乾隆版)
              – เตนคิว


                                                     ็
              ในส่วนของเตนคิว เริ่มพิมพ์ด้วยแท่นพิมพ์ไม้เปนครั้งแรกทีกรุงปกกิ่ง ในปยงเจิ้งที 2 (雍正)
                                                                                 ่
                                                                           ี
                                                               ่
                                                                   ั
       ตรงกับปคริสต์ศักราช 1724 โดยองค์ดาไลลามะล าดับที 5 ได้นาต้นฉบับจากวัดชะลุทีท่านบุตน
              ี
                                                       ่

                                                                                 ่
                         ็
                                                        ็
       เปนคนเรียบเรียงใช้เปนต้นฉบับ และใช้ฉบับคัดลอกอืน ๆ เปนตัวเทียบเคียงในการช าระด้วย
                                                  ่
         ็
                     ั
              – ฉบับปกกิ่งของมหาวิทยาลัยโอตานิ
                                 46
                                                                            ่
                                                                                      ่
              ท่าน Teramoto Enga  ได้อัญเชิญพระไตรปฎกทิเบตฉบับปกกิ่งสูประเทศญีปุน
                                                                                        ่
                                                       ิ
                                                                      ั
       เก็บรักษาไว้ที ห้องสมุดมหาวิทยาลัยโอตานิ ต่อมาได้นามาจัดพิมพ์เปนรูปเล่มในปโชวะ 30
                   ่

                                                                                  ี
                                                                      ็
                                              ิ
       (ปคริสต์ศักราช 1955) โดยศูนย์วิจัยพระไตรปฎกทิเบตที่ถูกจัดตั้งขึ้น โดย Dr. Suzuki Daisetsu
                                                                                        47
         ี
                                                                                ็
       ตัวเล่มเปนหนังสือแผ่นภาพขนาดใหญ่ รวมทั้งหมด 168 เล่ม โดยเนือหาส่วนของกันคิวเปนฉบับคังซี
                                                               ้
              ็

       ปคริสต์ศักราช 1684 ส่วนเตนคิวเปนฉบับยงเจิงปคริสต์ศักราช 1724 (และได้นางานประพันธ์ของ
                                                 ี
                                               ้
        ี
                                     ็
                                               ิ
                                                                                        ่
                            ็
                          ่
                                                              ็
       ท่านซองขะปะทั้งหมดทีเปนคัมภีร์นอกพระไตรปฎกผนวกรวมไว้เปนล าดับสุดท้าย) นักวิชาการญีปุน
                                                                                       ่
                                                     ั
       เรียกพระไตรปฎกชุดนีว่า “พระไตรปฎกทิเบตฉบับปกกิ่ง” ถือเปนต าราอ้างอิงทางพุทธศาสนา
                           ้
                                       ิ
                                                               ็
                    ิ
        ่
       ทีมีค่าประมาณมิได้
              ข) ฉบับนาร์ถัง
              ท่านโปละเน เซอธ์นัมโตปเกีย ཕྲོ་ལྷ་ནས་བསྲོད་ནམས་སྲོབས་རྒྱས་ ได้รับบัญชาจากองค์ดาไลลามะ
                        ่
                                                              48
                   ้
                            ิ
       ที่ 7 ด้วยเหตุนีพระไตรปฎกนาร์ถังฉบับพิมพ์จึงปรากฏขึ้น โดยกระบวนการท าในส่วนของกันคิว

                                             ่
                              ็
                                                                 ่
              46  ผู้แปล: 寺本婉雅 เปนพระรูปที 3 ชาวญี่ปุนสายนชิฮองกันจิไปศึกษาทีประเทศทิเบต
                                                   ิ
                                      ่
                                             ่
              47  ผู้แปล: 鈴木大拙 เราอาจจะรู้จักในชือภาษาอังกฤษ คือ D.T. Suzuki (Daisetsu Teitaro Suzuki)
         ็

       เปนนักวิชาการด้านพระพุทธศาสนามหายาน โดยเฉพาะสายเซนและสายชิน ได้นาความรู้ด้าน
            ้
                                                                              ่
                                                                               ่
            ี
       เหล่านถ่ายทอดสู่โลกตะวันตก มีผลงานการแปลคัมภีร์โบราณทางพุทธศาสนาทั้งพากย์ญีปุนและอังกฤษ
                                                                       ิ
                           ่
                ่
                                         ิ
                                            ี
       ด ารงต าแหนงศาสตราจารย์ทีมหาวิทยาลัยโอตานในป ค.ศ. 1921 ได้ก่อตั้งศูนย์วิจัยพระไตปฎกทิเบต 西蔵大蔵経研
                                                                       ่
               ่
                                                 ่
                                                                              ่
                                                                   ็
       究会 และกอตั้งวารสารวิชาการพุทธภาคภาษาอังกฤษมีชือว่า Eastern Buddhist เปนหนวยงานทีอยู่ภายใต้สังกัด
       มหาวิทยาลัยโอตาน  ิ
              48  ผู้แปล: pho lha nas bsod nams stobs rgyas, 1689-1747
   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166