Page 57 -
P. 57

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


          46   วารสารมนุษยศาสตร์

                 ข้อที่น่าสนใจก็คือ ชื่อเรือหลายล าที่ปรากฏในลิลิตเรื่องนี้ตรงกับชื่อเรือ
          พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่ที่ปรากฏในจดหมายเหตุ
          (จดหมายเหตุรัชกาลที่ 3 เล่ม 2, 2530: 87-91) ได้แก่ เสือค ารนสินธุ เสือทยานชล

          จรเข้คนองน  า จรเข้ค ารามร้อง อานนท์สมุท พิพัทธชล คชสารสินธู คชร าบาญ ชาญชล
                                                    6
          สินธุ ค าแหงหาญ มกรแผลงฤทธิ มกรจ าแลง สินธุลอยล่อง  โตฝืนสมุท โตขมังคลื น
          อสุรปักษีสมุท อสุรวายุภักษ์ สุครีพครองเมือง พาลีมล้างทวีป กระบี ราญรอนราพ
          กระบี ปราบเมืองมาร ครุธเตร็จไตรจักร  ครุธเหอรรเห็จ เอกไชยเหอรหาว เอกไชย
          หลาวทอง

                 กระบวนเรือที่ได้รับการเน้นย้ าอย่างส าคัญ คือ กระบวนเรือพระราชยาน

          ซึ่งมีเรือไชยเชิญผ้าไตรพระกฐินน าหน้า เรือพระที่นั่งในกระบวนนี้ชื่อว่า “ชลพิมาน
          ไชย” ส่วนเรือพระที่นั่งรองชื่อ “เรือเหราข้ามสมุทร” แต่การเสด็จพระราชด าเนินบางวัน
          จะเปลี่ยนไปใช้เรือพระที่นั่ง “มงคลสุบรรณ” และเรือพระที่นั่งรองชื่อ “เรือไชย
          สุพรรณหงษ์”  ชื่อเรือพระที่นั่งทั้ง 4 ล านี้ปรากฏในจดหมายเหตุว่าเป็นชื่อเรือที่
          พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชนิพนธ์ (จดหมายเหตุรัชกาลที่ 3
          เล่ม 4, 2530: 86)

                 การเสด็จพระราชด าเนินไปถวายผ้าพระกฐินในสมัยรัชกาลที่ 3 นี้คงจัด
          ขึ้นหลายคราว และถือเป็นพระราชพิธีและพระราชกรณียกิจที่พระบาทสมเด็จพระ
          นั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงให้ความส าคัญยิ่ง ดังที่ในพระราชพงศาวดารกรุง
          รัตนโกสินทร์กล่าวไว้ตอนหนึ่งว่า “ไม่ได้เสด็จพระราชด าเนินไปประพาสที ใด ต าบล
          ใดเลย เสด็จแต่ฤดูประทานผ้าพระกฐินคราวหนึ งเท่านั น...” (พระราชพงศาวดาร
          กรุงรัตนโกสินทร์ ฉบับหอสมุดแห่งชาติ, 2506: 353)


                 การเสด็จพระราชด าเนินไปถวายผ้าพระกฐินโดยกระบวนพยุหยาตรา
          คราวที่บันทึกในลิลิตเรื่องนี้กล่าวว่า วัดที่เสด็จพระราชด าเนินไปถวายผ้าพระกฐิน


                 6
                   เรือเหรา “สินธุลอยล่อง” นี้น่าจะหมายถึงเรือเหราชื่อ “ล่องลอยสินธุ” ซึ่งใน
          จดหมายเหตุระบุว่าเป็นชื่อเรือพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 3
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62