Page 35 -
P. 35
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
โครงการ การพัฒนาฐานข้อมูลห่วงโซ่อุปทานของหญ้าเนเปียร์ พืชพลังงาน-อาหารสัตว์ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือไทย
โคเนื้อภาคตะวันออกเฉียงเหนือไทย ปี 2559 (ปศุสัตว์เขต 4)
200,001 – 250,000 ตัว
150,001 – 200,000 ตัว
100,001 – 150,000 ตัว
050,001 – 100,000 ตัว
000,001 – 050,000 ตัว
รูปที่ 3.4 จำนวนโคเนื้อที่มีการเลี้ยงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของปศุสัตว์เขต 4 พ.ศ. 2559
โคนมภาคตะวันออกเฉียงเหนือไทย ปี 2559 (ปศุสัตว์เขต 4)
มากกว่า 30,001 ตัว
020,001 – 030,000 ตัว
010,001 – 120,000 ตัว
005,001 – 010,000 ตัว
001,001 – 005,000 ตัว
น้อยกว่า 1,000 ตัว
รูปที่ 3.5 จำนวนโคนมที่มีการเลี้ยงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของปศุสัตว์เขต 4 พ.ศ. 2559
ทั้งนี้ การเลี้ยงสัตว์เคี้ยวเอื้อง ในปี 2558 [36] พบจำนวนแพะที่มีการเลี้ยง 19,822 ตัว จำนวนแกะที่
มีการเลี้ยง 1,621 ตัว สำหรับในปี 2559 [37] นั้น พบจำนวนโคนมที่มีการเลี้ยง 142,451 ตัว จำนวนโคเนื้อที่
มีการเลี้ยง 2,054,215 ตัว จำนวนกระบือที่มีการเลี้ยง 751,858 ตัว ในการเลี้ยงสัตว์กระเพาะเดี่ยว พบจำนวน
สุกรที่มีการเลี้ยง 1,551,106 ตัว จำนวนไก่พื้นเมืองที่มีการเลี้ยง 25,400,853 ตัว จำนวนช้างที่มีการเลี้ยงใน
หมู่บ้านช้าง จังหวัดสุรินทร์ 250 เชือก การได้รับประโยชน์ในเรื่องของแหล่งน้ำและปุ๋ย พบจำนวนโรงงานแป้ง
มันสำปะหลัง 55 โรงงาน [38] จำนวนฟาร์มสุกร 1,001 ฟาร์ม [39] จากข้อมูลข้างต้นจะเห็นการขยายตัวของ
RDG6020008 19