Page 53 -
P. 53
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 2 นโยบาย Bioeconomy
กระทรวงเกษตร กระทรวงเศรษฐกิจ กระทรวงกลาโหม กระทรวงพลังงาน การรักษาความปลอดภัย
แหํงชาติ กระทรวงการคุ๎มครองสิ่งแวดล๎อมและสุขภาพ
พิมพ๑เขียว Bioeconomy ไมํเพียงแตํกําหนด R&D และการระดมทุนทางวิทยาศาสตร๑ แตํยัง
มีมาตรการเพื่อให๎แนํใจวํา จะมีการปรับปรุงเทคโนโลยีและมีการถํายโอนเทคโนโลยีอยํางรวดเร็ว โดย
บางสํวนของมาตรการมีไว๎เพื่ออํานวยความสะดวก และลดความซับซ๎อนของขั้นตอนการจัดตั้งกลุํม
Start-up เพื่อให๎กลุํมตํางสามารถปรับตัวเข๎ากับกฎระเบียบ และกลไก เพื่อลดข๎อกําจัดในการ
สร๎างสรรค๑นวัตกรรม โดยเฉพาะอยํางยิ่งในภาคสาธารณสุข มาตรการในขั้นตํอไปมีจุดมุํงหมายที่การ
ปฏิรูปการศึกษาและการฝึกอบรม รวมถึงเพิ่มการมีสํวนรํวมของอุตสาหกรรมโดยเน๎นที่คุณสมบัติของ
พนักงาน กลยุทธ๑ทางการเกษตรเน๎นในเรื่องของพลังงานทดแทนและการใช๎พลังงานอยํางมี
ประสิทธิภาพ โดยมีการให๎ความชํวยเหลือทางด๎าน Biorefinery ตํางๆ เชํน โปรแกรมการสํงเสริมการ
ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ วัสดุชีวภาพอื่น ๆ โดยเฉพาะอยํางยิ่ง การวิจัยพืชสําหรับผลิตพลังงานได๎รับการ
สนับสนุนเป็นอยํางมาก บางสํวนของมาตรการพลังงานยังรวมไปถึงผลิตภัณฑ๑ปุาไม๎ นอกจากนี้
กระทรวงกลาโหมยังมีบทบาทสําคัญในการสํงเสริมตลาดสําหรับเชื้อเพลิงชีวภาพ ยกตัวอยํางเชํน ในปี
2557 เงินทุนกวํา 200 ล๎านเหรียญสหรัฐ ถูกจัดสรรสําหรับการสร๎าง Biorefinery ในโปรแกรม
“Farm to Fleet” เพื่อผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพให๎กับกองทัพเรือสหรัฐ โดยมั่นใจวํากําลังการผลิตจะ
เพียงพอสําหรับการใช๎เชื้อเพลิงชีวภาพ และมีต๎นทุนที่เหมาะสมสําหรับการใช๎งานทางทหารภายในปี
2561 ถึงแม๎พิมพ๑เขียว Bioeconomy ยังไมํมีการกําหนดกรอบระยะเวลาที่แนํนอน แตํกลยุทธ๑ Farm
Bill มีแผนปฏิบัติการตั้งแตํปี 2557–2561
33