Page 50 -
P. 50
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 2 นโยบาย Bioeconomy
หลังจากมีการเปลี่ยนแปลงของรัฐบาล คณะรัฐมนตรีอาเบะ ได๎ผํานกลยุทธ๑การฟื้นฟูประเทศ
ญี่ปุุนในปี 2556 โดยระบุวํางานวิจัยและเทคโนโลยีควรเป็นพื้นฐานในการผลักดันให๎เกิดการพัฒนา
ของประเทศญี่ปุุน คณะรัฐมนตรีได๎กําหนดยุทธศาสตร๑ทางวิทยาศาสตร๑และเทคโนโลยีในเดือน
มิถุนายน ปี 2556 ซึ่งมุํงเน๎นไปที่ระบบพลังงานสะอาด และการฟื้นฟูเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค
นอกจากนี้ การสํงเสริมการพัฒนาของ Bioeconomy ยังถูกระบุไว๎ในยุทธศาสตร๑ชาติและแผนปฏิบัติ
การความหลากหลายทางชีวภาพ (2555-2563) อีกด๎วย
ผู๎รับผิดชอบในการกําหนดกลยุทธ๑ด๎าน Bioeconomy หลักของประเทศญี่ปุุน คือ
คณะรัฐมนตรีซึ่งเป็นผู๎จัดตั้งกลยุทธ๑แหํงชาติตํางๆ เชํน แผนปฏิบัติการระดับชาติเพื่อสํงเสริมการใช๎
ชีวมวล การวิจัยและเทคโนโลยีที่ครอบคลุมยุทธศาสตร๑และกลยุทธ๑ความหลากหลายทางชีวภาพ และ
สภาคณะกรรมการนโยบายแหํงชาติชีวมวลที่กําหนดกลยุทธ๑ชีวมวลอุตสาหกรรม โดยสภาคณะ
กรรมการฯ ประกอบด๎วยผู๎แทนจาก 7 กระทรวงที่เกี่ยวข๎อง คือ
1) สํานักงานรัฐมนตรี (กลยุทธ๑แหํงชาติ)
2) กระทรวงเศรษฐกิจการค๎า และอุตสาหกรรม
3) กระทรวงเกษตรปุาไม๎ และประมง
4) กระทรวงกิจการภายใน (การพัฒนาภูมิภาค)
5) กระทรวงการศึกษา และวิทยาศาสตร๑
6) กระทรวงคมนาคมและโครงสร๎างพื้นฐาน (นโยบายโครงสร๎างพื้นฐาน)
7) กระทรวงสิ่งแวดล๎อม (นโยบายการลดการปลํอยก๏าซเรือนกระจก)
ดังนั้นกลุํมประสานงานเกี่ยวกับการใช๎สารชีวมวล จึงได๎รับจัดตั้งขึ้นเพื่อประสานงานระหวําง
หนํวยงาน โดยมีวัตถุประสงค๑เพื่อการสร๎างความมั่นใจที่ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพในการสํงเสริม
การใช๎สารชีวมวล โดยกลุํมประสานงานประชุมสํานักงานตั้งอยูํภายในกระทรวงเกษตรปุาไม๎และ
ประมง (MAFF)
โดยแผนปฏิบัติการระดับชาติเพื่อการสํงเสริมการใช๎ประโยชน๑ชีวมวล (2553) มีวัตถุประสงค๑
เพื่อกําหนดแนวทางการเพิ่มการใช๎ประโยชน๑ชีวมวลจากที่มีอยูํในปัจจุบัน นอกนั้นแผนนี้ยังมุํงเน๎นไป
ในสํวนของเทคโนโลยี (Key Technologies and Sources of Raw Materials) และการฝึกอบรม
ตํางๆ นอกจากนี้ญี่ปุุนยังมียุทธศาสตร๑อุตสาหกรรมชีวมวล (2555) แบํงการดําเนินงานออกเป็น 7
สํวนเพื่อให๎บรรลุเปูาหมาย คือ
1) Basic Research
2) Technology
3) Biomass Supplies
4) Demand and Market Development
30