Page 49 -
P. 49

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                 บทที่  2 นโยบาย Bioeconomy

                   การเงินจากสหภาพยุโรป ภายใต๎โปรแกรม Horizon 2020  ในชํวงปลายปี 2555 กระทรวงได๎อนุมัติ

                   the SPRING National Biotechnology Cluster ซึ่งมุํงเน๎นการพัฒนาไปที่ “Green Chemistry”

                   โดยมีแปดภูมิภาคเข๎ารํวมและเริ่มดําเนินงานมาตั้งแตํนั้นมา นอกจากนี้ในปี 2556 The Ministry for

                   Economic  Development ได๎จัดตั้งกองทุนการเติบโตอยํางยั่งยืน  (Fondo  per  la  Crescita
                   Sostenibile) โดยมีจุดประสงค๑เพื่อสนับสนุนผู๎ประกอบการ SMEs ด๎วยการระดมทุนทั้งหมดประมาณ

                   300 ล๎านยูโร สําหรับการวิจัยและพัฒนาที่มุํงเน๎นในสํวนนวัตกรรมที่สําคัญของ EU Horizon 2020

                   Programme

                          อิตาลีมีบทบาทเป็นผู๎บุกเบิกในการพัฒนาตลาดและธุรกิจ จากการออกกฎหมายห๎ามไมํให๎ใช๎
                   ถุงพลาสติกที่ไมํยํอยสลายในปี 2554 ซึ่งมีสํวนสําคัญตํอการกระตุ๎น Green Chemistry ในอิตาลีเป็น

                   อยํางมาก และทางภาคเหนือของอิตาลีมีการสร๎าง  Bioeconomy  ในสํวนของอุตสาหกรรม  Green

                   Chemistry โดยใช๎วิธีการ Bottom-Up Approach ซึ่งได๎รับความชํวยเหลือจากโครงการวิจัยสหภาพ

                   ยุโรป ตัวอยํางเชํน การสร๎างโรงงานการสาธิตขนาดใหญํ สําหรับผลิต succinic  acid ชีวภาพใน
                   Cassano Spinola, หรือ butanediol ชีวภาพใน Venice ซึ่งสํวนนี้ได๎รับความรํวมมือจาก ฝรั่งเศส,

                   เบลเยียม, ดัตช๑ รวมถึงอุตสาหกรรมของสหรัฐ อีกด๎วย แตํอยํางไรก็ดี อิตาลีมุํงเน๎นการให๎ทุนวิจัยและ

                   การสนับสนุนกลุํมที่มีสํวนรํวมกับโปรแกรมของสหภาพยุโรปในสํวนของเทคโนโลยีชีวภาพและเคมี

                   ชีวภาพ เทํานั้น


                      2.1.7 ญี่ปุุน

                          คําวํา "Bioeconomy"  แทบจะไมํถูกนํามาใช๎ในประเทศญี่ปุุน แตํอยํางไรก็ดีญี่ปุุนมีกลยุทธ๑

                   และแผนการเฉพาะที่เกี่ยวกับการผลิตและการใช๎งานชีวมวลในอุตสาหกรรมซึ่งสอดคล๎องกับแนวคิด
                   ของ Bioeconomy ยกตัวอยํางเชํน กลยุทธ๑ชีวมวล (Biomass  Nippon  Strategy) ที่ได๎รับการ

                   พัฒนาขึ้นในปี 2545 โดยมีจุดมุํงหมายในการสร๎างเศรษฐกิจที่ยั่งยืน โดยการใช๎งานทรัพยากรชีวภาพ

                   อยํางมีประสิทธิภาพ และในปี 2552 มีการผํานกฎหมาย “Basic  Act  for  the  Promotion  of

                   Biomass  Utilization” ซึ่งกฎหมายดังกลําว ได๎สรุปหลักการของการใช๎สารชีวมวลและระบุความ
                   รับผิดชอบของรัฐบาล ผู๎มีสํวนได๎เสียทางการเมือง และมาตรการการระดมทุนทางการเมือง

                   นอกจากนี้คณะกรรมการนโยบายชีวมวลแหํงชาติยังได๎รับการแตํงตั้งภายใต๎กฎหมายนี้

                          แผนปฏิบัติการระดับชาติเพื่อการสํงเสริมการใช๎ชีวมวลถูกนํามาใช๎ในปี 2553 โดยกําหนด

                   เปูาหมายการใช๎ประโยชน๑เชิงปริมาณไปจนถึงปี 2563 และกําหนดนโยบายพื้นฐานในระดับชาติและ
                   ระดับอําเภอ หลังจากที่เกิดแผํนดินไหวทางภาคตะวันออกและภัยพิบัติสึนามิ กลยุทธ๑ทาง

                   อุตสาหกรรมชีวมวลจึงได๎ถูกปรับปรุงขึ้นใหมํในปี 2555 โดยวางแนวทางในการสํงเสริมการใช๎ชีวมวล

                   ในอุตสาหกรรมชีวมวล ทําให๎เกิดการปกครองตนเองและการผลิตพลังงานแบบกระจายอํานาจ


                                                            29
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54