Page 57 -
P. 57

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                   ชนิดอาหาร                                       จุดเดน                                                                ชนิดอาหาร                                       จุดเดน


                 สมตํา          ไขมันตํ่าและพลังงานตํ่า  มีใยอาหารพอควร                                                                ตมขาไก       มีไขมันตํ่ากวาแกงกะทิอื่น ๆ พลังงานคอนขางตํ่า มีฟอสฟอรัสรัส






                   ชนิดอาหาร                                       จุดเดน                                                                ชนิดอาหาร                                       จุดเดน


                 ขาวผัดกะเพราไก ใหพลังงานตํ่ากวาผัดไทย มีไขมันนอยกวากึ่งหนึ่ง  มีฟอสฟอรัสสูงจากเนื้อไก                           นํ้ายาปลา       ไขมันสูง ใหพลังงานสูง ไดใยอาหารจากเครื่องแกงและกระชาย






                   ชนิดอาหาร                                       จุดเดน                                                                ชนิดอาหาร                                       จุดเดน

                 ตมยํากุง      มีไขมันนอย และพลังงานตํ่า                                                                             ไกผัดเผ็ด      ใหโปรตีน ใยอาหาร






                   ชนิดอาหาร                                       จุดเดน                                                                ชนิดอาหาร                                       จุดเดน


                 พะแนงไก                                              มีโปรตีน  ไขมัน  พอประมาณ ใหพลังงานไมสูงนัก                    กลวยบวชชี      ไขมันพอประมาณ ใหพลังงานสูง  มีใยอาหารพอสมควร
                                                                              ใยอาหารไดจากพืชสมุนไพรในเครื่องแกง




                   ชนิดอาหาร                                       จุดเดน

                 มัสมั่นเนื้อ    มีโปรตีนใกลเคียงกับแกงเขียวหวานและตมขาไก ไขมันคอนขางสูง ซึ่งสงผลตอพลังงานใหสูงตาม                                                ¨Ø´à´‹¹·Õèáμ¡μ‹Ò§
                                 ใยอาหารไดจากพืชสมุนไพรในเครื่องแกง
                                                                                                                                         นอกจากคุณคาทางโภชนาการแลว  อาหารไทยยังมีคุณคาสรางเสริมสุขภาพที่ไดจากสารพฤกษเคมีที่เกิดจากการสังเคราะหของ
                                                                                                                                       พืชผัก เชน ฟลาโวนอยด อัลคาลอยด ไกลโคไซด สารประกอบเหลานี้มีคุณสมบัติเฉพาะตัว ไดแก ฤทธิ์ตานสารอนุมูลอิสระ ฤทธิ์
                                                                                                                                       ตานการกอกลายพันธุ ฤทธิ์ยับยั้งเซลลมะเร็ง ฤทธิ์ตานการอักเสบ เปนตน
                                                                                                                                         อนุมูลอิสระเปนสาเหตุของการเกิดโรคตาง ๆ เชน โรคหัวใจ มะเร็ง ตอกระจก โรคชรา เปนตน อนุมูลอิสระเกิดขึ้นในรางกาย
                   ชนิดอาหาร                                       จุดเดน                                                             มนุษยจากการสันดาปของออกซิเจนในกระบวนการหายใจ และไดรับจากอาหาร อากาศ และสิ่งแวดลอมรอบตัว จากผลงานวิจัย
                                                                                                                                       พบวา พืชผัก สมุนไพรไทยหลายชนิดมีสมบัติตานอนุมูลอิสระ ไดแก ดอกจันทน ลูกจันทน ตะไคร ใบมะกรูด ใบโหระพา และผัก
                 แกงเลียง        ไขมันและพลังงานตํ่า  มีใยอาหารจากผักตาง ๆ                                                            บางชนิดมีฤทธิ์ตานมะเร็ง ตานการกอกลายพันธุ เชน กระชาย ใบกะเพรา ตะไคร ใบมะกรูด ใบชะพลู พริกไทยออน เปนตน ที่
                                                                                                                                       สําคัญพืชผักเหลานี้เปนสวนผสมในอาหารไทยหลายชนิด



                                                             56                                                                                                                     57


                                                     อาหารไทย...ทางเลือกที่ดีกวา                                                                                              อาหารไทยสรางสุขภาพ
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62