Page 46 -
P. 46
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
14 บทที 2 การตรวจสอบเอกสาร
(specific strategies) เพื อรับมือการเปลี ยนแปลง ดังนั นครัวเรือนเกษตรขนาดเล็กยังคงมี
ความสามารถในการแข่งขัน (Larson et al., 2014; Holden and Otsuka, 2014)
โดยภาพรวม ครัวเรือนเกษตรกรสวนยางในประเทศไทยกว่าร้อยละ 90 ถือครองพื นที เฉลี ย
15 ไร่ (Somboonsuke and Wettayaprasit, 2013) แต่พบว่า รูปแบบการถือครองที ดินในประเทศไทย
มีความหลากหลายจากครัวเรือนเกษตรกรสวนยางขนาดเล็กมากเฉลี ย 7 ไร่ สวนขนาดใหญ่ที ถือครอง
สวนยางขนาดเฉลี ยระหว่าง 100 – 300 ไร่ และบริษัทธุรกิจเกษตรเพียงไม่กี รายที ถือครองที ดินมากกว่า
5,000 ไร่ (Kongmanee, 2014)
ผลการศึกษา เส้นวิถีครัวเรือนเกษตรกร (farms’ trajectory) ในภาคใต้ ประเทศไทย พบว่า
ในช่วง 20 ปีที ผ่านมา การถือครองที ดินสวนยางเกิดภาวะโพลาไรเซชัน (polarization) หมายถึง สภาวะ
การเปลี ยนแปลงการถือครองที ดินโดยเกษตรกรรายย่อยถือครองที ดินขนาดเล็กลงเรื อยๆ ในขณะที
เกษตรกรรายใหญ่ถือครองที ขนาดเพิ มขึ นเรื อยๆ กล่าวอีกนัยหนึ งคือ ที ดินถือครองโดยเกษตรกร
รายย่อยเปลี ยนมือผ่านไปสู่เกษตรกรรายใหญ่ ในภาวะโพลาไรเซชันการถือครองที ดินแบ่งออกเป็น
สองรูปแบบคือ 1) ที ดินกระจุกตัวเพิ มขึ น โดยเกษตรกรขนาดกลางและเกษตรกรรายใหญ่ และ 2) ที ดิน
มีขนาดเล็กลงและแยกส่วนย่อยเพิ มขึ น สําหรับเกษตรกรครัวเรือนขนาดเล็ก (Kongmanee, 2014)
นับตั งแต่เริ มปลูกสร้างสวนยางในประเทศไทย การขยายพื นที สวนยางขับเคลื อนโดยเกษตรกร
ขนาดเล็ก ในขณะเดียวกันประเทศไทยมีแนวนโยบายรัฐและโครงสร้างสถาบันที สนับสนุนการขยาย
พื นที ปลูกยางโดยเกษตรกรขนาดเล็กมาโดยตลอด (Kongmanee, 2014) แต่ในสถานการณ์ปัจจุบัน
ดูเหมือนว่านโยบายรัฐกําลังเปลี ยนไป เมื อนักลงทุนรายใหม่และบริษัทธุรกิจเกษตรกลายเป็น
ผู้ปลูกยางรายใหม่ที มีบทบาทอย่างน่าสนใจในการขยายพื นที ยางในพื นที ปลูกยางใหม่
(ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ) (Chambon, 2013)
ในปี 2556 พบว่า สวนยางขนาดใหญ่เหล่านี เป็นของนักลงทุนภายในประเทศเท่านั น
ขนาดที ดินเพิ มขึ นอย่างต่อเนื องแต่ไม่ใช่การรวบรวมที ดินขนาดใหญ่ในช่วงเวลาสั นๆ กล่าวคือ
ส่วนใหญ่เป็นการสะสมที ดินจากแปลงขนาดเล็กกลายเป็นที ดินขนาดใหญ่แต่แนวโน้มขนาดที ดินที
รวบรวม (size of land acquisition) ลดลงโดยเปรียบเทียบ ปรากฏการณ์นี อาจจะนําไปสู่การกระจุก
ตัวของการถือครองที ดินซึ งจะนําไปสู่การเปลี ยนแปลงในสิทธิ การถือครองที ดิน (land property) และ
อาจจะส่งผลต่อรูปแบบการผลิตและการใช้แรงงาน (Saturinino, 2012)