Page 45 -
P. 45
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที 2 การตรวจสอบเอกสาร 13
จนกระทั งในปี 2554 มีราคาสูงที สุด 129.25 บาทต่อกิโลกรัม โดยมีอัตราการเติบโตของราคายางพารา
ระหว่างปี 2542 – 2554 ร้อยละ 19.31 ต่อปี แต่หลังจาก ปี 2554 ราคายางกลับปรับตัวลดลงอย่าง
รุนแรงมาอยู่ที ราคาเฉลี ย 74.89 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2556 และราคายางยังคงปรับลดลงอย่าง
ต่อเนื อง โดยในปี 2558 ราคายางแผ่นดิบชั น 3 ราคาลดลงเหลือ 45.24 บาทต่อกิโลกรัม มีอัตราการ
หดตัวของราคายางพาราระหว่างปี 2554 – 2558 ร้อยละ 22.88 ต่อปี (สมบูรณ์ เจริญจิระตระกูล และ
คณะ, 2559)
140 129.25
120
103.97
100 77.23 90.63
บาท/กิโลกรัม 80 53.15 69.51 69.76 74.89 55.05
60
38.53 44.9 57.18 45.24
40 27.57
22.07 21.16
20 18.15
0
2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558
ภาพที 2.1 ราคายางแผ่นดิบชั น 3 รายปี ณ ตลาดท้องถิ นหาดใหญ่ ปี 2542 - 2558
ที มา : การยางแห่งประเทศไทย, 2559
2.1.4 การเปลี ยนแปลงของภาคเกษตรที เกี ยวข้องกับการทําสวนยาง
นับตั งแต่ปี 2543 - 2555 ราคายางอยู่ในภาวะราคายางบูมดังที กล่าวข้างต้น ส่งผลต่อการ
ขยายพื นที ปลูกยางใหม่อย่างรวดเร็วในกลุ่มประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นักลงทุนและบริษัทธุรกิจ
เกษตรเข้ามาเป็นผู้ปลูกยางรายใหม่ เจ้าของสวนยางรายใหม่เหล่านี ต้องแข่งขันกับเกษตรกรรายย่อย
ในการใช้ปัจจัยที ดินและแรงงาน ประกอบกับผลลัพธ์ของการพัฒนาเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศ
เศรษฐกิจเหล่านี ส่งผลให้กําลังแรงงานส่วนใหญ่กระจุกตัวอยู่ในเขตเมืองและภาคอุตสาหกรรม
วิวัฒนาการนี อาจจะนําไปสู่การเปลี ยนรูปของโครงสร้างระบบเกษตร (structure of agricultural
system) แนวโน้มความเป็นไปได้อย่างหนึ งคือ โครงสร้างการผลิตภาคเกษตรอาจจะเกิดการกระจุกตัว
ของการถือครองที ดินโดยฟาร์มขนาดใหญ่และบริษัทธุรกิจเกษตร ซึ งจะมีสัดส่วนการใช้แรงงาน
น้อยลงและใช้เครื องจักรกลมากขึ น (Deininger and Byerlee, 2012) นั นคือ ปรากฏการณ์การ
เคลื อนย้ายแรงงานจากแรงงานครัวเรือนไปเป็นแรงงานรับจ้างในธุรกิจเกษตรอาจจะพบได้มากขึ น
อย่างไรก็ตาม ครัวเรือนเกษตรขนาดเล็กยังคงมีความสามารถในการแข่งขัน เนื องจากความสัมพันธ์
ที ผกผันกันระหว่างขนาด (size) และผลิตภาพ (productivity) รวมทั งการพัฒนากลยุทธ์เฉพาะ