Page 44 -
P. 44

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

               12                               บทที  2 การตรวจสอบเอกสาร


               ตารางที  2.5 (ต่อ)                                                             หน่วย : ตัน

                                                     ปริมาณการส่งออก          ปริมาณการใช้ภายในประเทศ
                       ปี         ปริมาณการผลิต    ปริมาณ       ร้อยละ       ปริมาณ          ร้อยละ
                      2546          2,876,005     2,573,450      89.48       298,699          10.39
                      2547          2,984,293     2,637,096      88.37       318,649          10.68
                      2548          2,937,158     2,937,158      89.62       334,649          11.39
                      2549          3,136,993     3,136,993      88.35       320,885          10.23
                      2550          3,056,005     3,056,005      88.47       373,659          12.23
                      2551          3,089,751     3,089,751      86.59       397,595          12.87
                      2552          3,164,379     2,726,193      86.15       399,415          12.62
                      2553          3,252,135     2,866,447      88.14       458,637          14.10
                      2554          3,569,033     2,952,381      82.72       486,745          13.64
                      2555          3,778,010     3,121,332      82.62       505,052          13.37
                      2556          4,170,428     3,664,941      87.88       520,628          12.48
                      2557          4,323,975     3,770,649      87.20       541,003          12.51
                GR* 2536 – 2557 (%/ปี)   4.48       4.15          -           7.13             -
               ที มา : การยางแห่งประเทศไทย, 2559



                       2.1.3 ราคายางพารา

                       ราคายางพารามีความผันผวนและความแปรปรวนตั งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน เนื องจากการ

               เปลี ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทาน ซึ งขึ นกับปัจจัยต่างๆ มากมายที ควบคุมได้ และควบคุมไม่ได้
               อุปสงค์การใช้ยางขึ นอยู่กับภาวะเศรษฐกิจโลก โดยมีตัวชี วัดคือ อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของ

               ประเทศผู้ผลิตและผู้ใช้ยาง ปริมาณการใช้ยางของประชากรโลก เช่น เหตุการณ์การปรับลดลง

               ของราคายางในปี 2556 จากปริมาณสต็อกยางในประเทศจีนที พุ่งสูง เนื องจากการชะลอตัวของ
               เศรษฐกิจจีน รวมทั งการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก เป็นต้น ส่วนปัจจัยกําหนดอุปทานที สําคัญ

               คือ พื นที ปลูก และปัจจัยที เกี ยวข้องกับธรรมชาติ เช่น ฤดูกาล การผลัดใบ ภัยธรรมชาติ การระบาดของ

               โรคและศัตรูยาง ดังเช่นในปี 2557 เกิดสถานการณ์อุปทานส่วนเกิน จากจํานวนพื นที กรีดได้ที เพิ มขึ น

               จากช่วงที ยางมีราคาสูงของประเทศผู้ผลิต เช่น ไทย เวียดนาม ลาว เมียนมาร์ และกัมพูชา ส่งผลให้

               ราคายางพาราปรับตัวลดลง นอกจากการเปลี ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทานยางพาราแล้ว
               ยังมีปัจจัยอื นที เกี ยวข้อง ได้แก่ ปัจจัยทางเทคนิค การเคลื อนไหวของอัตราแลกเปลี ยนเงินตราระหว่าง

               ประเทศ ราคานํ ามันดิบและยางสังเคราะห์ การเก็งกําไรในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า รวมทั ง จิตวิทยา

               ตลาด เช่น เหตุการณ์ราคานํ ามันดิบปรับตัวลดลงอย่างรุนแรงในปี 2558 ส่งผลต่อการปรับตัวลดลง

               ของราคายางพารา เป็นต้น (สถาบันวิจัยยาง, 2555)

                       ดังจะเห็นได้จากสถิติราคายางแผ่นดิบชั น 3 ณ ตลาดท้องถิ นหาดใหญ่ ตั งแต่ปี 2542 - 2558
               ที มีความเคลื อนไหวผันผวนจากช่วงราคาบูมเข้าสู่ช่วงราคายางตกตํ า (ภาพที  2.1) ซึ งปี 2542 ราคา

               ยางพารามีแนวโน้มปรับตัวเพิ มขึ นมาโดยตลอด จากราคาเฉลี ย 18.15 บาทต่อกิโลกรัม ปรับตัวเพิ มขึ น
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49