Page 41 -
P. 41
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที 2 การตรวจสอบเอกสาร 9
ตารางที 2.2 พื นที เพาะปลูกยางพารามาก 5 อันดับแรกของภาคใต้
หน่วย: ไร่
จังหวัด 2556 2557 2558
สุราษฎร์ธานี 2,913,105 2,912,437 2,911,108
สงขลา 2,066,960 2,064,608 2,062,232
นครศรีธรรมราช 1,848,296 1,846,338 1,847,711
ตรัง 1,542,246 1,541,701 1,543,266
ยะลา 1,360,659 1,359,527 1,359,444
พัทลุง 775,846 776,881 776,988
ที มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2558
1) จังหวัดสงขลา
เป็นศูนย์การผลิต การค้า อุตสาหกรรมแปรรูปยาง และการส่งออกยางพารา ยางพารามีบทบาท
สําคัญในกิจกรรมทางเศรษฐกิจที สร้างมูลค่าในการขับเคลื อนเศรษฐกิจของจังหวัด ทั งนี กิจกรรมทาง
เศรษฐกิจนอกภาคเกษตรยังเชื อมโยงหรือเกี ยวเนื องกับการผลิตยางพาราเช่นกัน จังหวัดสงขลามีพื นที
สวนยางปลูกอย่างหนาแน่นในทุกอําเภอ ยกเว้นอําเภอในเขตฝั งตะวันออกของทะเลสาบสงขลา
(ระโนด สทิงพระ และสิงหนคร) ในปี 2557 จังหวัดสงขลามีครัวเรือนเกษตรกรสวนยางกว่า 90,081
ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 71.5 ของครัวเรือนเกษตรกรทั งหมด และมีพื นที สวนยางกว่า 2.03 ล้านไร่
คิดเป็นสัดส่วนการใช้ที ดินปลูกยางพารากว่าร้อยละ 68 ของพื นที ทําการเกษตรทั งหมด และมีผลผลิต
กว่า 500,000 ตัน
ในช่วง 10 ปีที ผ่านมา (ปี 2546 – 2557) จังหวัดสงขลามีอัตราการขยายตัวของพื นที ปลูกยาง
เฉลี ยร้อยละ 3.9 ต่อปี และมีอัตราการเติบโตของปริมาณผลผลิตร้อยละ 4.2 ต่อปี นอกจากนี ยังพบว่า
จังหวัดสงขลามีผลผลิตต่อไรเฉลี ย 285 กิโลกรัมต่อไร่ ซึ งสูงกว่าค่าเฉลี ยผลผลิตยางต่อไร่ของภาคใต้
และประเทศต่างๆ ที มีผลผลิตต่อไร่ 268 และ 254 กิโลกรัมต่อไร่ (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร,
2558) (ตารางที 2.3)
ตารางที 2.3 พื นที ปลูกยางพารา พื นที กรีดได้ ผลผลิต และผลผลิตต่อไร ของจังหวัดสงขลา
ปี พื นที ปลูก (ไร่) พื นที กรีดได้ (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตต่อไร่ (กก.)
2546 1,387,861 1,141,730 333,385 292
2547 1,397,202 1,212,970 362,678 299
2548 1,410,927 1,231,095 357,018 290
2549 1,418,927 1,242,394 364,021 293