Page 40 -
P. 40

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

               8                                บทที  2 การตรวจสอบเอกสาร


               ตารางที  2.1 พื นที เพาะปลูกยางพาราของประเทศไทยจําแนกตามภูมิภาค ปี 2549-2556

                                                                                                                                     หน่วย: ล้านไร่

                      ปี พ.ศ.        เหนือ         อีสาน          กลาง          ใต้          รวม
                      2549            0.22          1.54          1.65         10.96         14.37

                      2550            0.40          2.14          1.71         11.11         15.36
                      2551            0.60          2.80          1.98         11.34         16.72

                      2552            0.69          2.98          2.06         11.51         17.24
                      2553            0.79          3.16          2.16         11.85         17.96

                      2554            0.87          3.48          2.21         11.91         18.47
                      2555            1.15          4.17          2.30         12.30         19.92

                      2556            1.23          4.40          2.61         13.94         22.18
                     GR*(%ปี)        24.75         14.53          6.22         2.86          5.73

               ที มา: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2557
               หมายเหตุ : * อัตราการเติบโตเป็น % ต่อปี ระหว่าง ปี พ.ศ. 2549-2556  ผู้เขียนคํานวณโดยใช้สมการ Logarithmic Exponential
                            Curve หรือ สมการ Y = ab T

                       เมื อพิจารณาพื นที ปลูกยางพาราในภาคใต้ในปี 2558 พบว่า จังหวัดที มีพื นที สวนยางพารา

               มาก 5 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี สงขลา นครศรีธรรมราช ตรัง และยะลา โดยมีพื นที

               เพาะปลูกยางพาราจํานวน 2,911,108 ไร่ 2,062,232 ไร่ 1,847,711 ไร่ 1,543,266 ไร่ และ 1,359,444
               ไร่ ตามลําดับ หากพิจารณาเปรียบเทียบพื นที เพาะปลูกยางพาราในแต่ละจังหวัดในช่วงปี

               2556 – 2558 จะสังเกตได้ว่าพื นที เพาะปลูกยางพารามีแนวโน้มลดลง (ตารางที  2.2) เนื องจากช่วง

               ระยะเวลาดังกล่าวรัฐบาลมีการควบคุมปริมาณการผลิตยางพาราผ่านโครงการตัดโค่นต้นยางแก่

               เพื อปลูกทดแทน โครงการส่งเสริมการปลูกทดแทนยางด้วยพืชเศรษฐกิจอื น โครงการทวงคืนพื นป่าที
               เป็นสวนยางพารา และโครงการสนับสนุนสินเชื อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื อประกอบอาชีพ

               เสริมโดยมีเงื อนไขกําหนดให้เกษตรกรตัดโค่นต้นยางบางส่วนเพื อลดจํานวนต้นยางพารา (สํานักงาน

               เศรษฐกิจการเกษตร, 2558) เมื อพิจารณาในพื นที ศึกษาซึ งประกอบด้วยจังหวัดสงขลา และจังหวัด

               พัทลุง มีรายละเอียดดังนี
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45