Page 36 -
P. 36
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
4 บทที 1 บทนํา
1.2 วัตถุประสงค์
เพื อตอบคําถามหลักข้างต้น โครงการวิจัยมีวัตถุประสงค์ดังนี
1) เพื อศึกษาการแบ่งประเภทเกษตรกรสวนยาง (typology of farms) โครงสร้างการผลิต
และข้อจํากัดของระบบการผลิตในแต่ละประเภทเกษตรกรสวนยางในพื นที ภาคใต้
2) เพื อศึกษาระบบการดํารงชีพ (livelihood systems) และความเปราะบาง (vulnerability)
ของครัวเรือนเกษตรกรสวนยางในแต่ละประเภท
3) เพื อศึกษาความเสี ยง (risks) การรับรู้ความเสี ยง (perception of risks) และกลยุทธ์จัดการ
ความเสี ยง (risk management strategies) ของครัวเรือนเกษตรกรในแต่ละประเภท
4) เพื อประเมินความสามารถอยู่รอด (farm viability) ของครัวเรือนเกษตรกรสวนยาง
1.3 ขอบเขตการวิจัย
ทีมวิจัยได้กําหนดขอบเขตการศึกษาโดยสังเขปดังนี
ขอบเขตด้านพื นที ศึกษา: ทีมวิจัยกําหนดพื นที ศึกษาคือ พื นที อําเภอสะเดาและอําเภอ
หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และพื นที อําเภอตะโหมดและอําเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง
ขอบเขตด้านประชากร: เกษตรกรสวนยางพาราและเจ้าของที ดินสวนยางในพื นที ศึกษา
ขอบเขตด้านเนื อหา: งานวิจัยนี มุ่งเน้น 3 ประเด็นสําคัญคือ
1) การศึกษาการแบ่งประเภทเกษตรกรสวนยาง โครงสร้างการผลิตและข้อจํากัดของระบบ
การผลิตในแต่ละประเภทเกษตรกรสวนยาง การศึกษาในประเด็นนี มุ่งเน้นสร้างความรู้ความเข้าใจ
ในโครงสร้างฟาร์ม ระบบการผลิต และข้อจํากัดของเกษตรกรแต่ละประเภท การศึกษาในส่วนนี ช่วยให้
ทีมวิจัยวิเคราะห์ได้ว่า โครงสร้างฟาร์มและระบบการผลิตส่งผลต่อความเสี ยงและกลยุทธ์จัดการความ
เสี ยงอย่างไร
2) การศึกษาระบบการดํารงชีพและความเปราะบางของครัวเรือนเกษตรกรสวนยาง มุ่งเน้น
สร้างความรู้ความเข้าใจและวิเคราะห์การดํารงชีพของเกษตรกรสวนยางตามกรอบแนวคิดการดํารงชีพ
อย่างยั งยืน ประกอบด้วย ความเปราะบาง ทุนการดํารงชีพ นโยบายรัฐ/สถาบัน กลยุทธ์การดํารงชีพ
และผลลัพธ์การดํารงชีพ ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบดังกล่าวช่วยให้ทีมวิจัยสามารถวิเคราะห์ว่า
การดํารงชีพและความเปราะบางมีความสัมพันธ์กับความเสี ยงและกลยุทธ์จัดการความเสี ยงอย่างไร
โดยเฉพาะช่วยในการระบุและประเมินความเสี ยงและกลยุทธ์จัดการความเสี ยง
3) การศึกษาการรับรู้ความเสี ยง กลยุทธ์จัดการความเสี ยง และความสามารถอยู่รอดของ
ครัวเรือนเกษตรกรสวนยาง ในการศึกษาในประเด็นนี มุ่งเน้นการระบุและประเมินการรับรู้ความเสี ยง
และกลยุทธ์การจัดการความเสี ยง ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจที ส่งผลต่อการรับรู้ความเสี ยงและ