Page 35 -
P. 35
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที 1 บทนํา 3
ในปัจจุบันผลกระทบจากการเปลี ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพิ มขึ นอย่างชัดเจน รายงานผล
การประเมินภูมิอากาศโดย Intergovernmental Panel on Climate Change พบว่า ในเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้อุณหภูมิอากาศมีแนวโน้มเพิ มขึ นประมาณ 2.5 องศาเซลเซียส และปริมาณนํ าฝนเพิ มขึ น
ร้อยละ 7 ภายในสิ นทศวรรษนี (Christensen et al., 2007) ภูมิอากาศในอนาคตของประเทศไทย
ฤดูร้อนจะยาวนานขึ น และฝนตกชุกเพิ มขึ นในฤดูฝนมากกว่าปริมาณนํ าฝนรายปีโดยเฉลี ย (Murray
2010, Lacombe et al., 2013) ตัวอย่างเช่น ในภาคใต้ประเทศไทยพบว่า ฝนตกอย่างไม่มีรูปแบบที
ชัดเจนและยาวนานกว่าปกติ ในขณะที ฤดูร้อนมีความรุนแรงมากขึ น ปัจจัยดังกล่าวอาจเกี ยวข้องกับ
การเลือกระบบกรีดที ไม่มีรูปแบบที ชัดเจน กรีดความถี สูง และหยุดกรีดเฉพาะวันที ฝนหยุดตก
(Chambon, 2013) การเปลี ยนแปลงภูมิอากาศนับได้ว่าเป็นปัจจัยเสี ยงต่อระบบผลิตของเกษตรกร
สวนยางและชักนําไปสู่การปรับกลยุทธ์การผลิตก็เป็นไปได้และอย่างไร
การลงทุนสร้างสวนยางพาราใช้เงินลงทุนสูงและให้ผลตอบแทนในระยะยาว เมื อเกษตรกร
ตัดสินใจลงทุนปลูกยางไปแล้วไม่สามารถปรับเปลี ยนพันธุ์ยางได้อีกต่อไปจนกว่าจะถึงปีปลูกทดแทน
ตั งแต่เริ มปลูกใช้เวลากว่า 5-7 ปี กว่าต้นยางเติบโตจนได้ขนาดเส้นรอบวงของต้นยางที สามารถเริ มเก็บ
เกี ยวผลผลิตนํ ายางและสามารถเก็บเกี ยวผลผลิตให้ผลตอบแทนในระยะยาวมากกว่า 25 ปี
แล้วเกษตรกรสวนยางจะมั นใจได้อย่างไรว่าจะสามารถทํากําไรหรือมีความสามารถอยู่รอดได้ ในบริบท
ที เงื อนไขทางเศรษฐกิจและสังคมที กําลังเปลี ยนแปลง และความเชื อมโยงที ซับซ้อนของระบบนิเวศ
(ecosystem) และระบบเศรษฐกิจและสังคม (socio-economic system) จากระดับพื นที ภูมิภาค
ประเทศ และตลาดโลกได้ก่อเกิดความเสี ยงและความไม่แน่นอนที ท้าทายต่อความสามารถผลิต
ความสามารถอยู่รอด และความยั งยืนของครัวเรือนเกษตรกรสวนยาง จึงเป็นที มาของโจทย์วิจัยของ
โครงการวิจัยเรื อง “การรับรู้ความเสี ยงและกลยุทธ์จัดการความเสี ยงของเกษตรกรสวนยางใน
ภาคใต้ ประเทศไทย” โครงการวิจัยมุ่งตอบคําถามหลัก คือ
1) เกษตรกรสวนยางขนาดเล็กกําลังเผชิญกับความเสี ยงอะไรบ้าง และเกษตรกรรับรู้ถึง
ความเสี ยงที เกิดขึ นหรือไม่ อย่างไร
2) ความเสี ยงที เกิดขึ น (ข้อ1) ส่งผลกระทบต่อความความเปราะบาง และการดํารงชีพ
ครัวเรือนเกษตรกรสวนยางอย่างไร
3) ครัวเรือนเกษตรกรสวนยางขนาดเล็กมีการปรับตัวเพื อรับมือกับความเสี ยง (ข้อ 1) อย่างไร
และมีความสามารถอยู่รอดหรือไม่ อย่างไร
4) รัฐมีทางเลือกนโยบายและแนวทางการพัฒนาเพื อรับมือกับความเสี ยงอะไรบ้าง