Page 34 -
P. 34

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

               2                                       บทที  1 บทนํา



               ราคายางยังคงเป็นปัจจัยเสี ยงที ส่งผลกระทบต่อความเปราะบางของครัวเรือนเกษตรกรขนาดเล็ก

               แล้วเกษตรกรรับรู้ถึงความเสี ยงเหล่านี หรือไม่ และมีกลยุทธ์ในการปรับตัวอย่างไร
                       ราคายางบูมประกอบกับโครงการส่งเสริมการปลูกยาง 1 ล้านไร่ ของรัฐบาลส่งผลต่อการขยาย

               พื นที ปลูกยางอย่างรวดเร็ว พื นที สวนยางเพิ มขึ นจาก 12.62 ล้านไร่ ในปี 2546 ไปเป็น 22.48 ล้านไร่

               ในปี 2556 จําแนกรายภาคดังนี  ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4.71 ล้านไร่ ภาคเหนือ 1.23 ล้านไร่

               ภาคกลาง 2.61 ล้านไร่ และภาคใต้ 13.93 ล้านไร่ พื นที สวนยางใหม่ส่วนใหญ่เพิ มขึ นในภาค

               ตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ ในขณะที ภาคใต้ พื นที ยางใหม่เพิ มขึ นกว่า 3.26 ล้านไร่ เกษตรกร
               สวนยางรายใหม่เกิดขึ นจํานวนมากในช่วง 10 ปีที ผ่านมา มีทั งเกษตรกรที ถือครองสวนยางขนาดเล็ก

               กลาง และใหญ่ รวมทั งเกษตรกรสวนยางรายเดิมที ขยายพื นที ปลูกยางใหม่เพิ มเติม โดยเฉพาะใน

               ภาคใต้พบว่า พื นที ปลูกยางใหม่ได้ขยายเข้าไปทดแทนพื นที ปลูกพืชอาหารเดิม (ที นา ไม้ผล และ

               พืชอาหาร) หรือพื นที นาร้างและพื นที นํ าท่วมซึ งไม่เหมาะสมต่อการปลูกยาง ซึ งส่งผลต่อผลผลิตต่อไร่

               (yield) ลดลง และต้นทุนการผลิตเพิ มขึ น รวมทั งส่งผลกระทบต่อความมั นคงทางอาหาร นอกจากนี
               เจ้าของสวนยางเหล่านี ยังต้องแข่งขันในการใช้ทรัพยากรที มีราคาเพิ มขึ น เช่น ที ดิน แรงงาน เงินทุนและ

               ปัจจัยการผลิต ในขณะเดียวกันโครงสร้างการกระจายที ดินก็กําลังเปลี ยนแปลง ที ดินจํานวนมากถูก

               เปลี ยนผ่านไปอยู่ในมือของนายทุนและเกษตรกรขนาดกลางหรือใหญ่ ในขณะที เกษตรกรสวนยางที ใช้

               แรงงานครัวเรือน ถือครองขนาดที ดินต่อครัวเรือนเล็กลงเรื อยๆ นัยยะหนึ งคือ การถือครองที ดินมี
               แนวโน้มกระจุกเพิ มขึ นโดยเจ้าของสวนยางขนาดใหญ่หรือกลาง ร้อยละ 38 ของเกษตรกรสวนยางใน

               จังหวัดสงขลาและพัทลุงถือครองที ดินขนาดเล็กเฉลี ย 15 ไร่ และร้อยละ 25 ถือครองที ดินขนาดเล็ก

               มากเฉลี ย 7.0 ไร่ ในช่วง 10 ปี ที ผ่านมา เกษตรกรสวนยางขนาดเล็กเหล่านี มีรายได้เกือบทั งหมดจาก

               สวนยางซึ งเพียงพอสําหรับการดํารงชีพเท่านั น (Kongmanee, 2014) เมื อมีการเปลี ยนแปลงจากปัจจัย
               ภายนอกหรือช๊อค (shock) เข้ามากระทบโดยเฉพาะราคายางตกตํ าเช่นในปัจจุบันย่อมส่งต่อความ

               เปราะบางและความสามารถอยู่รอดของครัวเรือน

                       ภาคใต้ของประเทศไทยเริ มปลูกยางพาราตั งแต่ทศวรรษที  20 ส่งผลให้ที ดินที มีความเหมาะสม

               ส่วนใหญ่ได้ถูกใช้ปลูกยางพาราเกือบทั งหมดในช่วง 50 ปีที ผ่านมา สวนยางในปัจจุบันเป็นการปลูกซํ า

               ในที ดินแปลงเดิมในวงรอบปลูกทดแทนที  2-3 การปลูกยางอย่างต่อเนื องส่งผลกระทบเชิงลบต่อความ
               เสื อมโทรมของดิน ความอ่อนไหวของระบบนิเวศการเพาะปลูก (cultivated ecosystem) และปัญหา

               โรคยางมีความรุนแรงเพิ มขึ น เช่น โรครากขาว (สถาบันวิจัยยาง, 2556) การปลูกยางในพื นที เดิมอย่าง

               ยาวนานและการขยายพื นที สวนยางใหม่ย่อมส่งผลต่อระบบนิเวศธรรมชาติ (natural ecosystem)

               ข้อสังเกตประการหนึ งคือ เกษตรกรสวนยางกําลังปรับใช้ระบบการผลิตที สร้างแรงกดดันต่อระบบนิเวศ
               และสิ งแวดล้อมมากขึ น จึงเป็นคําถามหนึ งของงานวิจัยว่า เกษตรกรสวนยางรับรู้ถึงความเสี ยงดังกล่าว

               หรือไม่ อย่างไร และมีการปรับใช้กลยุทธ์เพื อรับมือกับการเปลี ยนแปลงดังกล่าวอย่างไร
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39